
วันที่ 26กรกฏาคม2568
นายณัฐพล เริ่มฤกษ์(เต็ง)
เดินทางเข้าพบจิตแพทย์
ณ โรงพยาบาลกรุงเทพ
ผลการตรวจออกเมื่อเวลา 19.15น.
แพทย์วินิจฉัยว่า นายณัฐพล เริ่มฤกษ์
เป็น ออทิสติกเทียม (Virtual autism)
คือ ภาวะที่เด็กมีอาการคล้ายออทิสติก
แต่ไม่ได้เป็นโรคจริง เด็กกลุ่มออทิสติกเทียม
เกิดจากการขาดการดูแลอย่างเหมาะสม
ไม่มีการกระตุ้นพัฒนาการ ขาดการเรียนรู้
การเล่นที่สมวัย ใช้เวลาอยู่กับหน้าจอ
มากเกินไป โดยเฉพาะช่วงสถานการณ์โควิด
ที่ต้องแยกตัวจากเพื่อนและเรียนออนไลน์
อย่างไรก็ตาม หากเด็กกลุ่มที่มี
ภาวะออทิสติกเทียมได้รับการส่งเสริม
พัฒนาการอย่างเหมาะสม อาการที่สงสัย
ดูคล้ายภาวะออทิสติกจะสามารถหายไปได้
สาเหตุของออทิสติกเทียม
ของ นายณัฐพล เริ่มฤกษ์
อย่างที่กล่าวมา สาเหตุหลัก
ของออทิสติกเทียมไม่ได้เกิดจาก
พันธุกรรม หรือจากความผิดปกติของสมอง
แต่เกิดมาจากการเลี้ยงดูที่ไม่มีการกระตุ้น
พัฒนาการ จึงทำให้เด็กมีพัฒนาการล่าช้า
ไม่สมวัย ดังนี้
1.ใช้เทคโนโลยีเลี้ยงลูก เช่น โทรทัศน์
สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เนื่องจาก
คุณพ่อคุณแม่ไม่มีเวลา หรือต้องการให้ลูก
อยู่นิ่งๆ ลูกจึงได้รับการสื่อสารทางเดียว
เล่นคนเดียว ไม่มีโอกาสได้เล่นกับเพื่อน
หรือฝึกเข้าสังคมอย่างเหมาะสมตามวัย
2.คุณพ่อคุณแม่ตามใจ ไม่มีการฝึก
ให้ลูกช่วยเหลือตนเอง
3.คุณพ่อคุณแม่ที่เป็นห่วงลูกมากเกินไป
สั่งห้ามไม่ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ จนเด็กกลัว
ไม่กล้าที่จะแสดงออก หรือเรียนรู้ด้วยตัวเอง
4.คุณพ่อคุณแม่ ไม่ค่อยสื่อสารพูดคุย
หรือเล่นกับลูก
5.คุณพ่อคุณแม่ที่ไม่ให้ลูกออกไปเล่น
นอกบ้าน อาจทำให้ลูกไม่มีเพื่อน
และไม่รู้จักการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมในสังคม
ภาวะออทิสติกเทียม
ของ นายณัฐพล เริ่มฤกษ์
มีอาการ ดังนี้
1.ชอบเล่นคนเดียว ไม่สนใจเด็กวัยเดียวกัน
2.ไม่สบตาเวลาพูดคุย
3.ไม่สามารถบอกความต้องการของตัวเองได้
4.มักแสดงออกด้วยการโวยวาย
5.พูดช้า พูดภาษาการ์ตูน หรือพูดตาม
โดยไม่เข้าใจความหมาย
6.ติดอุปกรณ์สื่อสาร เช่น แท็บเล็ต
สมาร์ทโฟน โดยไม่สนใจกิจกรรมอื่น
คำแนะนำในการป้องกันออทิสติกเทียม
ตามที่กล่าวมา ภาวะออทิสติกเทียม
มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม
ดังนั้นการเลี้ยงดูเด็กอย่างเหมาะสม
จะช่วยป้องกันอาการของภาวะ
ออทิสติกเทียมได้ ดังนี้
1.งดสื่อหน้าจอทุกชนิดก่อนอายุ 2 ปี
หากอายุมากกว่า 2 ปี ให้ดูจอได้
ไม่เกิน 1 ชั่วโมงต่อวัน ทั้งนี้ควรเป็นการดู
ร่วมกันกับคุณพ่อคุณแม่
2.พูดคุยและเล่นกับลูกมากขึ้น เว้นจังหวะ
ให้เด็กได้โต้ตอบ ฝึกการมองหน้าสบตา
เวลาพูด
3.การเล่นบทบาทสมมติ เช่น ให้ลูกเป็น
คุณครู คุณหมอ หรือเชฟ ตามที่ลูกสนใจ
4.ให้เด็กได้ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
วันละประมาณ 30 นาที
5.ฝึกให้เด็กรู้จักช่วยเหลือตัวเอง
6.ให้ออกไปเล่นกับเด็กวัยเดียวกัน
สรุปคือ ภาวะออทิสติกเทียม
ของ นายณัฐพล เริ่มฤกษ์
สามารถบำบัดดูแลพฤติกรรมให้กลับมา
เป็นปกติได้ เพราะเป็นเพียงแค่ภาวะ
ไม่ใช่โรคหรืออาการป่วย ดังนั้น
จึงถือว่า นายณัฐพล เริ่มฤกษ์
เป็นบุคคลปกติ มิใช่ผู้ป่วยจิตเวชแต่อย่างใด